แบบฝึกหัดที่ 1

1. สมัยก่อนใช้เขาสัตว์เป่าเพื่อประโยชน์ ทางด้านใด
    ก. ล่าสัตว์                                         ข. เป็นดนตรี
    ค. บอกเหตุร้าย               ง. นัดหมายเพื่อประชุม
2. สมัยที่มีวัฒนธรรม ดนตรีสูงค่า  นิยมใช้ดนตรีใน
    สถานศักดิ์สิทธิ์ เพื่อบูชาเทพเจ้า และอ้อนวอนร้อง
    ขอสิ่งที่ต้องการ  คือสมัยใด
ก.      สมัยหิน  อียิปต์ และกรีก
ข.      กรีก โรมัน และไบแซนไทน์
ค.      ไบแซนไทน์ แอสซีเรียน
ง.       อียิปต์ กรีก และโรมัน
3. กรีกใช้ดนตรีทางด้านใดมากที่สุด
    ก. การรื่นเริง                                   ข. การล่าสัตว์
    ค. ศาสนา                                        ง. ละครเพลง
4. โรมันเริ่มใช้ดนตรีไปทางด้านใด
    ก. ล่าสัตว์                                         ข. ศาสนา
    ค. ละครเพลง                                 ง. การรื่นเริง
5. สมัยศตวรรษที่ 5 ได้เกิดออร์แกนเครื่องแรกขึ้นเพื่อ
    ใช้ ณ ที่ใด
    ก. ในโบสถ์                                     ข. ในโรงเรียน
    ค. ในมหาวิทยาลัย                         ง. ในโรงละคร
6. เครื่องดนตรีที่ใช้เล่นทำนอง  สามารถถ่ายทอด
    อารมณ์ได้ดีที่สุด มีเสียงเล็กแหลม สดใส 
    อ่อนหวาน ชวนเคลิบเคลิ้ม  คือข้อใด
     ก. วิโอลา                                        ข. ไวโอลิน
    ค. เชลโล                                         ง. แบนโจ
7. วงโยธวาทิต  ประกอบด้วยเครื่องดนตรีในข้อใด
     ก. เครื่องลมไม้  เครื่องกระทบ  เครื่องทองเหลือง
    ข. เครื่องทองเหลือง  เครื่องลมไม้
    ค. เครื่องทองเหลือง
    ง. เครื่องทองเหลือง  เครื่องกระทบ
8. วงดนตรีที่เหมาะสมแสดงในห้องโถง  คือวงประเภทใด
    ก. แตรวง                                         ข. โยธวาทิต
    ค. แชมเบอร์มิวสิค                        ง. ซิมโฟนี
9. วงดนตรีที่ใช้บรรเลงตามงานรื่นเริงต่าง ๆ โดยทั่ว ๆ
    ไป  ประกอบด้วยกลุ่มแซกโซโฟน  กลุ่ม
    ทองเหลือง  กลุ่มริทึ่ม  คือวงดนตรีในข้อใด
    ก. วงเชมเบอร์                                                ข. วงชาโดว์
    ค. วงออร์เคสตร้า           ง. วงป๊อปปูล่ามิวสิค
10. บทประพันธ์ที่แสดงให้เห็นความสำคัญของดนตรี 
    ซี่งมีต่อมนุษย์ได้กล่าวเป็นภาษาอังกฤษ  คือใคร
ก.      โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค
ข.      ลุดวิก  ฟาน เบโธเฟน
ค.      วิลเลี่ยม  เชคสเปียร์

ง.       รัชกาลที่ 6

5 ความคิดเห็น: